วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550

แบบฝึกหัดที่5

แบบฝึกหัดที่ 5
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. รูปแบบนอร์มัล มีกี่ระดับ อะไรบ้าง
6 ระดับ
-.รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 1 (First Normal Form : 1NF)
- รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 2 (Second Normal Form : 2 NF)
- . รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 3 (Third Normal Form : 3NF)
-. รูปแบบนอร์มัลของบอยส์ และคอดด์ (Boyce /Codd Normal Form :Bcnf )
-. . รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 4 (Fourth Normal Form : 4NF)
-. รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 5 (Fifth Normal Form : 5 NF)
2. จงยกตัวอย่างของปัญหาที่เกิดกับรีเลชัน ที่ไม่ได้ผ่านการ นอร์มัล ไลเซชันมา สัก 3 ตัวอย่าง
-.การแก้ไขข้อมูล ( Update Anonaly )
. การลบข้อมูล ( Delete Anonaly )
-. การเพิ่มข้อมูล ( Insert Anonaly )
3. จงบอกความหมายของฟังชันก์การขึ้นต่อกันดังต่อไปนี้
3.1) รหัสนักศึกษา à ชื่อนักศึกษา
ฟังก์ชันการขึ้นต่อกัน ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างดีเทอร์มิแนนท์ และดีเพนเดนซี อย่างละ 1 ค่าเช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา และชื่อนักศึกษา
รหัสนักศึกษา- ชื่อ,นามสกุล,วัน เดือน ปี เกิด
ฟังชันก์การขึ้นต่อกันที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างดีเทอร์มิแนนท์ 1 ค่า กับดีเพนเดนซี หลายค่า เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา และข้อมูลของนักศึกษา (เช่น ชื่อ,นามสกุล,วันเดือนปีเกิด เป็นต้น)

3.3รหัสนักศึกษาà เลขบัตรประชาชน
เลขบัตรประชาชนà รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษาß เลขบัตรประชาชน
ฟังก์ชันการขึ้นต่อกัน ที่มีความสัมพันธ์ 2 ทาง โดยที่ทั้งดีเทอร์มิแนนท์ และ ดีเพนเดนซี ต่างก็สามารถทำหน้าที่ของแต่ละฝ่ายได้ เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา และ เลขบัตรประชาชน ที่ต่างก็ไม่มีข้อมูลซ้ำกันเลย และสามารถทำหน้าที่ เป็นดีเทอร์มิแนนท์ เช่นเดียวกัน
3.4รหัสนักศึกษา,รหัสวิชาà ห้องเรียน
ฟังก์ชันการขึ้นต่อกัน ที่ต้องใช้ดีเทอร์มิแนนท์ มากกว่า 1ค่า เพื่อระบุถึง ดีเพนเดนซี เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา,รหัสวิชาและห้องเรียน
4.จงอธิบายความหมายของการขึ้นต่อกันเป็นเชิงกลุ่มพร้อมยกตัวอย่าง
การขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม เป็นความสัมพันธ์ที่ค่า ดีเทอร์มิแนนท์ 1 ค่าสามารถระบุค่า ของแอตทริบิวต์ที่ทำหน้าที่เป็นดีเพนเดนซี ได้ตั้งแต่ 2แอตทริบิวต์ขึ่นไป เมื่อระบุค่าแอตทริบิวต์”ห้องเรียน#”ได้มากว่า 1 ค่าเช่นเดียวกันเป็นต้น
5.การนอร์มัลไรเซชันให้อยู่ในรูปแบบนอร์มัลระดับต่างๆ ต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง(บอกมา 2ข้อ)
- คุณสมบัติที่อยู่ในรูปนอร์มัล

แบบฝึกหัดที่4 ตอนที่ 2

ตอนที่ 2 คำสั่ง จาก E- R Diagram จงเปลี่ยนให้เป็นตารางเก็บข้อมูล
Course (CID , CName, Credit ,Deptid )
Department(Deptie, DeptName, Location
Fulculty (Factid, FactName )
Teachs (TID, Tname,Sala ,Hre_Date)
Teacher(TID, Tname,Salary ,Hire_Date)

แบบฝึกหัดที่4

แบฝึกหัดหน่วยที่ 4
คำสั่งจงตอบคำถามต่อไปนี้
1.เอนทิตี้มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
2ประเภท1.Regular Entity 2.Weak Entity
2.พรอพเพอตี้ที่ได้จากการนำพรอพเพอตี้อื่นมาคำนวณเรียกว่า
Derived Property
3. Composite Property มีลักษณะอย่างไร
พรอพเพอตี้มีค่าภายในพรอพเพอตี้นั้น สามารถแบ่งแยกย่อยออกมาได้อีก เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น
4.ความสัมพันธ์ของข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
2 ประเภท ความสัมพันธ์Leader และความสัมพันธ์IN
5. Total Participation คืออะไร ใช้สัญลักษณ์อะไรในการระบุ
คือทุกข้อมูลภายในแอนทิตี้สัญลักษณ์ใช้เส้นแสดงความสัมพันธ์ 2เส้นคู่
6. การเปลี่ยน Strong Entity เป็นตารางเก็บข้อมูล มีหลักการอย่างไร
สามารถเปลี่ยนเป็นตารางได้เลย โดยมีจำนวน แอทริบิวต์ (คอลัมน์) ของตาราง ตามจำนวนพรอพเพอตี้ของแอนทริตี้
7. ในการเปลี่ยนความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มเป็นตารางเก็บข้อมูล มีหลักการอย่างไร
ตารางที่สร้างมาจากความสัมพันธ์ คือ ตาราง Take ซึ่งได้จากการนำไพรมารี่คีย์ ของตาราง Student คือ Sid และ ไพรมารี่คีย์ของตาราง Course คือ Cid มารวมกันแล้วกำหนดให้พรอพเพอตี้ทั้งคู่รวมกันเป็นไพรมารี่คีย์ของตาราง
Take และมีแอตทริบิวส์ ของความสัมพันธ์เองก็คือ Grade

แบบฝึกหัดที่3

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1Dr E F Coddได้กำหนดส่วนประกอบของโมเดลเชิงสัมพันธ์ไว้กี่ส่วน
3ส่วน 1 ส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างข้อมูล2ส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมถูกติองให้กับข้อมูล ส่วนในการจัดการกับข้อมูล
2 ลักษณะโครงสร้างของรีเลชันในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์มีลักษณะอย่างไร
จะอยู่ในลักษณะของตาราง2มิติ ประกอบด้วยทางด้านแถวและ คอลัมน์ ซึ่งจะเรียกว่ารีเลชัน
3 ทูเพิล และ แอตทริบิวส์ คืออะไร
ทูเพิลคือ ข้อมูลในแต่ละแถว แอตทริบิวส์ คือ ข้อมูลในแต่ละคอลัมน์
4เหตุใดจึงไม่กำหนดลำดับให้กับแอตทริบิวส์หรือทูเพิล
จะเก็บความไม่เป็นอิสระของข้อมูล
5 คีย์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
4ประเภท
- คีย์คู่แข่ง
- คีย์หลัก
- Alternate Key
- คีย์นอก (Foreign Key)
6 )ความสัมพันธ์ของข้อมูลมีกี่แบบอะไรบ้าง
3แบบ คือ
- ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
-ความสัมพันธ์ข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม
- ความสัมพันธ์ข้อมูลแบกลุ่มต่อกลุ่ม


7)กฎที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องของข้อมูล มีกี่กฎอะไรบ้าง
2กฎ คือ กฎที่เกี่วข้องกับแอตทริตี้ และกฎที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของแอตทริตี้
8)การกระทำแบบ ProjactและRestrict มีลักษณะอย่างไร
Projactคือการแสดงข้อมูลในทูเพิลซึ่งมีข้อมูลตรงตามเงื่อนไขที่ระบุ
Restrict คือการแสดงข้อมูลที่กำหนดโดยแสดงข้อมูลในทูเพิล

แบบฝึกหัดที่2

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.ระดับของข้อมูลมีการแบ่งออกเป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
3 ระดับ คือ
-.ระดับภายนอก (External Level)
-ระดับแนวความคิด (External Level)
-ระดับภายใน ( Internal Level)
2.อธิบายเกี่ยวกับระดับข้อมูล Conceptual Level
ระดับแนวข้อมูลความคิด ( Conceptual Level) เป็นมุมมองโครงร่างของฐานข้อมูลในแนวความคิด ซึ่งไม่ใช่โครงร่างจริงที่ถูกสร้างในอุปกรณ์เก็บข้อมูล
3.สคีมา และ อินสแตนซ์ คืออะไร
รายละเอียดโครงสร้างของฐานข้อมูล รวมถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล ในแต่ละแอนทิตี้ ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
4.ความเป็นอิสระของข้อมูล คืออะไร
การที่ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวความคิดหรือระดับภายในได้โดยไม่กระทบกับโปรแกรมที่เรียกใช้
5.การแปลงรูปคืออะไร
การถ่ายทอดมุมมองจากสถาปัตยกรรม ในระดับที่สูงกว่าไปยังระดับที่ต่ำกว่า
6.การแปลงรูปเกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูลอย่างไร
ทำให้มุมมองในแต่ละระดับนั้นสามารถแยกออกเป็นอิสระจากกันได้โดยจะมีDBMS เป็นตัวจัดการเชื่อมความสัมพันธ์ในแต่ละระดับให้

แบบฝึกหัดที่1

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. หน่วยที่เล็กที่สุดในการจัดเก็บข้อมูล คือ
หน่วยที่เล็กที่สุดในการจัดเก็บข้อมูล คือ บิต
2.เขตข้อมูล (ฟิลด์) คืออะไร
หน่วยของข้อมูล ซึ่งเกิดจากการนำข้อมูลหลายๆไบต์หรือหลายๆอักขระมารวมกัน เพื่อใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
3. แฟ้มข้อมูล คืออะไร
แฟ้มข้อมูล คือ หน่วยของข้อมูลซึ่งเกิดจากการนำข้อมูลหลายๆระเบียนที่มีลักษณะของเขตข้อมูลเหมือนกันมาจัดเก็บรวมกัน
4. จงยกตัวอย่างปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล
-. ความซ้ำซ้อนของข้อมูล
-ปัญหาจากการเพิ่ม,ลบ,แก้ไขข้อมูล
-.ความไม่เป็นอิสระระหว่างโปรแกรมกับแฟ้มข้อมูล
5. DBMS คืออะไร จงยกตัวอย่างหน้าที่ของ DBMS
-. ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูลตามที่ผู้ใช้กำหนด
-. ทำหน้าที่แปลคำสั่ง
-. ทำหน้าที่รักษาความปลอดภัยของข้อมูล
-ทำหน้าที่รักษาความถูกต้อง และความสัมพันธ์ของข้อมูล
-. ทำหน้าที่ป้องกันความเสียหายต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับข้อมูล
-. ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน



6. จงยกตัวอย่าง ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
-. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
-. แก้ปัญหาความขัดแย้งกันของข้อมูล
-. การบริหารจัดการข้อมูลทำได้ง่าย
- กำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้
-.สามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้
-.เกิดความเป็นอิสระระหว่างข้อมูลกับโปรแกรม
-. กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลได้
7. จงยกตัวอย่างซอฟแวร์ระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ซอฟแวร์ฐานข้อมูลที่เหมาะสำหรับระบบงานใหญ่ เช่น Oracle, Microsoft SQL, Sysbase, DB2, Informix, Ingres เป็นต้น
ซอฟแวร์ฐานข้อมูลที่เหมาะสำหรับงานที่ไม่ใหญ่ เช่น Microsoft Access, My SQL, Postgre SQL, Microsoft visual Foxpro เป็นต้น

วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2550



วิธีทำ

1.หาเกรดของนักเรียนแต่ละคน

2.สูตรในการหาคือ

3.ตัด