วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550

แบบฝึกหัดที่5

แบบฝึกหัดที่ 5
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. รูปแบบนอร์มัล มีกี่ระดับ อะไรบ้าง
6 ระดับ
-.รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 1 (First Normal Form : 1NF)
- รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 2 (Second Normal Form : 2 NF)
- . รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 3 (Third Normal Form : 3NF)
-. รูปแบบนอร์มัลของบอยส์ และคอดด์ (Boyce /Codd Normal Form :Bcnf )
-. . รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 4 (Fourth Normal Form : 4NF)
-. รูปแบบนอร์มัล ระดับที่ 5 (Fifth Normal Form : 5 NF)
2. จงยกตัวอย่างของปัญหาที่เกิดกับรีเลชัน ที่ไม่ได้ผ่านการ นอร์มัล ไลเซชันมา สัก 3 ตัวอย่าง
-.การแก้ไขข้อมูล ( Update Anonaly )
. การลบข้อมูล ( Delete Anonaly )
-. การเพิ่มข้อมูล ( Insert Anonaly )
3. จงบอกความหมายของฟังชันก์การขึ้นต่อกันดังต่อไปนี้
3.1) รหัสนักศึกษา à ชื่อนักศึกษา
ฟังก์ชันการขึ้นต่อกัน ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างดีเทอร์มิแนนท์ และดีเพนเดนซี อย่างละ 1 ค่าเช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา และชื่อนักศึกษา
รหัสนักศึกษา- ชื่อ,นามสกุล,วัน เดือน ปี เกิด
ฟังชันก์การขึ้นต่อกันที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างดีเทอร์มิแนนท์ 1 ค่า กับดีเพนเดนซี หลายค่า เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา และข้อมูลของนักศึกษา (เช่น ชื่อ,นามสกุล,วันเดือนปีเกิด เป็นต้น)

3.3รหัสนักศึกษาà เลขบัตรประชาชน
เลขบัตรประชาชนà รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษาß เลขบัตรประชาชน
ฟังก์ชันการขึ้นต่อกัน ที่มีความสัมพันธ์ 2 ทาง โดยที่ทั้งดีเทอร์มิแนนท์ และ ดีเพนเดนซี ต่างก็สามารถทำหน้าที่ของแต่ละฝ่ายได้ เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา และ เลขบัตรประชาชน ที่ต่างก็ไม่มีข้อมูลซ้ำกันเลย และสามารถทำหน้าที่ เป็นดีเทอร์มิแนนท์ เช่นเดียวกัน
3.4รหัสนักศึกษา,รหัสวิชาà ห้องเรียน
ฟังก์ชันการขึ้นต่อกัน ที่ต้องใช้ดีเทอร์มิแนนท์ มากกว่า 1ค่า เพื่อระบุถึง ดีเพนเดนซี เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง รหัสนักศึกษา,รหัสวิชาและห้องเรียน
4.จงอธิบายความหมายของการขึ้นต่อกันเป็นเชิงกลุ่มพร้อมยกตัวอย่าง
การขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม เป็นความสัมพันธ์ที่ค่า ดีเทอร์มิแนนท์ 1 ค่าสามารถระบุค่า ของแอตทริบิวต์ที่ทำหน้าที่เป็นดีเพนเดนซี ได้ตั้งแต่ 2แอตทริบิวต์ขึ่นไป เมื่อระบุค่าแอตทริบิวต์”ห้องเรียน#”ได้มากว่า 1 ค่าเช่นเดียวกันเป็นต้น
5.การนอร์มัลไรเซชันให้อยู่ในรูปแบบนอร์มัลระดับต่างๆ ต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง(บอกมา 2ข้อ)
- คุณสมบัติที่อยู่ในรูปนอร์มัล

แบบฝึกหัดที่4 ตอนที่ 2

ตอนที่ 2 คำสั่ง จาก E- R Diagram จงเปลี่ยนให้เป็นตารางเก็บข้อมูล
Course (CID , CName, Credit ,Deptid )
Department(Deptie, DeptName, Location
Fulculty (Factid, FactName )
Teachs (TID, Tname,Sala ,Hre_Date)
Teacher(TID, Tname,Salary ,Hire_Date)

แบบฝึกหัดที่4

แบฝึกหัดหน่วยที่ 4
คำสั่งจงตอบคำถามต่อไปนี้
1.เอนทิตี้มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
2ประเภท1.Regular Entity 2.Weak Entity
2.พรอพเพอตี้ที่ได้จากการนำพรอพเพอตี้อื่นมาคำนวณเรียกว่า
Derived Property
3. Composite Property มีลักษณะอย่างไร
พรอพเพอตี้มีค่าภายในพรอพเพอตี้นั้น สามารถแบ่งแยกย่อยออกมาได้อีก เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น
4.ความสัมพันธ์ของข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
2 ประเภท ความสัมพันธ์Leader และความสัมพันธ์IN
5. Total Participation คืออะไร ใช้สัญลักษณ์อะไรในการระบุ
คือทุกข้อมูลภายในแอนทิตี้สัญลักษณ์ใช้เส้นแสดงความสัมพันธ์ 2เส้นคู่
6. การเปลี่ยน Strong Entity เป็นตารางเก็บข้อมูล มีหลักการอย่างไร
สามารถเปลี่ยนเป็นตารางได้เลย โดยมีจำนวน แอทริบิวต์ (คอลัมน์) ของตาราง ตามจำนวนพรอพเพอตี้ของแอนทริตี้
7. ในการเปลี่ยนความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มเป็นตารางเก็บข้อมูล มีหลักการอย่างไร
ตารางที่สร้างมาจากความสัมพันธ์ คือ ตาราง Take ซึ่งได้จากการนำไพรมารี่คีย์ ของตาราง Student คือ Sid และ ไพรมารี่คีย์ของตาราง Course คือ Cid มารวมกันแล้วกำหนดให้พรอพเพอตี้ทั้งคู่รวมกันเป็นไพรมารี่คีย์ของตาราง
Take และมีแอตทริบิวส์ ของความสัมพันธ์เองก็คือ Grade

แบบฝึกหัดที่3

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1Dr E F Coddได้กำหนดส่วนประกอบของโมเดลเชิงสัมพันธ์ไว้กี่ส่วน
3ส่วน 1 ส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างข้อมูล2ส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมถูกติองให้กับข้อมูล ส่วนในการจัดการกับข้อมูล
2 ลักษณะโครงสร้างของรีเลชันในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์มีลักษณะอย่างไร
จะอยู่ในลักษณะของตาราง2มิติ ประกอบด้วยทางด้านแถวและ คอลัมน์ ซึ่งจะเรียกว่ารีเลชัน
3 ทูเพิล และ แอตทริบิวส์ คืออะไร
ทูเพิลคือ ข้อมูลในแต่ละแถว แอตทริบิวส์ คือ ข้อมูลในแต่ละคอลัมน์
4เหตุใดจึงไม่กำหนดลำดับให้กับแอตทริบิวส์หรือทูเพิล
จะเก็บความไม่เป็นอิสระของข้อมูล
5 คีย์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
4ประเภท
- คีย์คู่แข่ง
- คีย์หลัก
- Alternate Key
- คีย์นอก (Foreign Key)
6 )ความสัมพันธ์ของข้อมูลมีกี่แบบอะไรบ้าง
3แบบ คือ
- ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
-ความสัมพันธ์ข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม
- ความสัมพันธ์ข้อมูลแบกลุ่มต่อกลุ่ม


7)กฎที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องของข้อมูล มีกี่กฎอะไรบ้าง
2กฎ คือ กฎที่เกี่วข้องกับแอตทริตี้ และกฎที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของแอตทริตี้
8)การกระทำแบบ ProjactและRestrict มีลักษณะอย่างไร
Projactคือการแสดงข้อมูลในทูเพิลซึ่งมีข้อมูลตรงตามเงื่อนไขที่ระบุ
Restrict คือการแสดงข้อมูลที่กำหนดโดยแสดงข้อมูลในทูเพิล

แบบฝึกหัดที่2

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.ระดับของข้อมูลมีการแบ่งออกเป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
3 ระดับ คือ
-.ระดับภายนอก (External Level)
-ระดับแนวความคิด (External Level)
-ระดับภายใน ( Internal Level)
2.อธิบายเกี่ยวกับระดับข้อมูล Conceptual Level
ระดับแนวข้อมูลความคิด ( Conceptual Level) เป็นมุมมองโครงร่างของฐานข้อมูลในแนวความคิด ซึ่งไม่ใช่โครงร่างจริงที่ถูกสร้างในอุปกรณ์เก็บข้อมูล
3.สคีมา และ อินสแตนซ์ คืออะไร
รายละเอียดโครงสร้างของฐานข้อมูล รวมถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล ในแต่ละแอนทิตี้ ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
4.ความเป็นอิสระของข้อมูล คืออะไร
การที่ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวความคิดหรือระดับภายในได้โดยไม่กระทบกับโปรแกรมที่เรียกใช้
5.การแปลงรูปคืออะไร
การถ่ายทอดมุมมองจากสถาปัตยกรรม ในระดับที่สูงกว่าไปยังระดับที่ต่ำกว่า
6.การแปลงรูปเกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูลอย่างไร
ทำให้มุมมองในแต่ละระดับนั้นสามารถแยกออกเป็นอิสระจากกันได้โดยจะมีDBMS เป็นตัวจัดการเชื่อมความสัมพันธ์ในแต่ละระดับให้

แบบฝึกหัดที่1

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. หน่วยที่เล็กที่สุดในการจัดเก็บข้อมูล คือ
หน่วยที่เล็กที่สุดในการจัดเก็บข้อมูล คือ บิต
2.เขตข้อมูล (ฟิลด์) คืออะไร
หน่วยของข้อมูล ซึ่งเกิดจากการนำข้อมูลหลายๆไบต์หรือหลายๆอักขระมารวมกัน เพื่อใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
3. แฟ้มข้อมูล คืออะไร
แฟ้มข้อมูล คือ หน่วยของข้อมูลซึ่งเกิดจากการนำข้อมูลหลายๆระเบียนที่มีลักษณะของเขตข้อมูลเหมือนกันมาจัดเก็บรวมกัน
4. จงยกตัวอย่างปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล
-. ความซ้ำซ้อนของข้อมูล
-ปัญหาจากการเพิ่ม,ลบ,แก้ไขข้อมูล
-.ความไม่เป็นอิสระระหว่างโปรแกรมกับแฟ้มข้อมูล
5. DBMS คืออะไร จงยกตัวอย่างหน้าที่ของ DBMS
-. ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูลตามที่ผู้ใช้กำหนด
-. ทำหน้าที่แปลคำสั่ง
-. ทำหน้าที่รักษาความปลอดภัยของข้อมูล
-ทำหน้าที่รักษาความถูกต้อง และความสัมพันธ์ของข้อมูล
-. ทำหน้าที่ป้องกันความเสียหายต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับข้อมูล
-. ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน



6. จงยกตัวอย่าง ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
-. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
-. แก้ปัญหาความขัดแย้งกันของข้อมูล
-. การบริหารจัดการข้อมูลทำได้ง่าย
- กำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้
-.สามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้
-.เกิดความเป็นอิสระระหว่างข้อมูลกับโปรแกรม
-. กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลได้
7. จงยกตัวอย่างซอฟแวร์ระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ซอฟแวร์ฐานข้อมูลที่เหมาะสำหรับระบบงานใหญ่ เช่น Oracle, Microsoft SQL, Sysbase, DB2, Informix, Ingres เป็นต้น
ซอฟแวร์ฐานข้อมูลที่เหมาะสำหรับงานที่ไม่ใหญ่ เช่น Microsoft Access, My SQL, Postgre SQL, Microsoft visual Foxpro เป็นต้น